วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 1 สังคม

1.การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม...อ่านต่อ 
2.โครงสร้างสังคม หมายถึง ระบบของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่าง กันตามระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่จะทำให้สังคมเป็นระเบียบ...อ่านต่อ

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

1.ปัญหาสังคมไทย ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น...อ่านต่อ

2.การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลงบางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว...อ่านต่อ

บทที่ 3 วัฒนธรรม

1.วัฒนธรรมไทย หมายถึง วีถีการดำรงชีวิตที่ดีงาม ได้รับการสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบันเป็นผลผลิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ทั้งด้านวัตถุ แนวคิดจิตใจ...อ่านต่อ
2.วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ...อ่านต่อ

บทที่ 4พลเมืองดี

1.คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้...อ่านต่อ

2.พลเมืองดี ในวิถีชีวิตประชาธิปไตยพจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำต่าง ๆ ดังนี้...อ่านต่อ

บทที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1.ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตยเป็นกาปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้...อ่านต่อ
2.รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก... อ่านต่อ

บทที่ 6 กฏหมาย

1.กฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและประเทศชาติคือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระสำคัญ... อ่านต่อ

2.กฎหมายเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว...อ่านต่อ

บทที่ 7 สิทธิมนุษยชน

1.สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 26 ถึง 69... อ่านต่อ

2.สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล...อ่านต่อ

 

บทที่ 8 ความสัมพันธระหว่างประเทศ

1.การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน.IOSCO เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาตลาดทุนของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2526 โดย ก.ล.ต. ได้เข้าเป็นสมาชิกประเภทสามัญ (มีสิทธิออกเสียงในการประชุม) ของ IOSCO ตั้งแต่ปี 2535...อ่านต่อ
 

2.การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ...อ่านต่อ